วันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2559

ภาษา LUA สำหรับโปรแกรมเมอร์ – ตอนที่ 1


ภาษา Lua คืออะไร
Lua อ่านว่า loo-ah เผื่อคุณยังไม่รู้ มันคือภาษาโปรแกรมภาษานึงแหละ ที่เป็นแบบแปลคำสั่งแล้วทำงานเป็นบรรทัดๆไป โดยไม่ต้องคอมไพล์และแปลให้เป็นภาษาเครื่องก่อน จุดเด่นของมันก็คือเร็วส์ ยืดหยุ่น ง่าย และไม่ยากในการศึกษา (ไม่ใช่อันเดียวกันกับ “ง่าย” เหรอ)
สิ่งที่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับภาษา Lua อย่างเช่น รูปแบบคำสั่ง โอเปอเรเตอร์ ฟังก์ชันต่างๆ
--[[
นี่คือคอมเม้นต์

ตัวแปรและประเภทของตัวแปร
ก็เหมือนกับภาษาแบบสคริปต์โดยทั่วไป คือ มันไม่มีชนิดของตัวแปรหรอก แปลว่าเราสามารถตั้งค่าให้ตัวแปรได้เลย อย่างเช่น
var = value
แต่มันก็มีการตั้งค่าให้แบบ global และ local นะ เหมือนภาษาอื่นๆแหละ แถมเราตั้งค่าให้มันทั้งหมดในรวดเดียวแบบนี้ได้เลย

คำสงวนที่ต้องระวัง ในภาษา Lua มีคำสงวนที่ต้องระวังในการใช้ คำพวกนี้ก็มี nil ซึ่งหมายถึงทั้งตัวแปรที่ไม่ได้ตั้งค่า (undefined) และตัวแปรที่ไม่มีค่า (null) อีกคำสงวนคือ false และ true เวลาใช้ false ใน statement ให้ระวังเพราะใน Lua มีแค่ 2 อันที่เท่ากับ false คือ nil กับ false ที่เหลือทั้งหมดคือ true

โอเปอเรเตอร์

  • พวก and or หรือ not ก็ตามตัวเลย
  • สัญลักษณ์ “ไม่เท่ากับ” คือ ~=
  • .. เอาไว้เชื่อม string
  • ^ คือเอาไว้ยกกำลัง (ไม่ใช่ binary XOR)
  • # เอาไว้นับความยาวของ tables และ strings (บทต่อไปนะ)
 Loop
while
i = 1
repeat
i = 1
for 
x = 1
การจบ loop 
Credit >> chet.lixen.net

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น